การวิจัยสร้างสรรค์ : ตัวแต่งฝัน (Dream Work)


0.0_บทความนเรศวรวิจัย 12

C-content_NU12


กับดักฝัน

ชั่วขณะจิต


วิจัยสร้างสรรค์ เรื่อง ชั่วขณะจิต เทคนิค Drawing ขนาด 90×1200 cm
แนวคิด :งานวิจัยสร้างสรรค์ของเรา เป็นการบันทึกการอยู่กับตัวเอง ไม่ส่งใจออกนอก หรือการหาเครื่องมือสร้างความสุขด้วยเอง

การวิจัยเชิงสร้างสรรค์จิตรกรรมสื่อผสม:ความกลัวในวิถีชีวิต

1_ปกภาษาไทย

1_ปกภาษาไทย

2_ปกภาษาอังกฤษ

3_หน้าอนุมัติ

4_บทคัดย่อวิทยานิพนธิ์(ไทย)

5_บทคัดย่อวิทยานิพนธ์ (E)

6_กิตติกรรมประกาศ

7_สารบัญ

8_สารบัญตาราง

9_สารบัญภาพ

10_สารบัญแผนภูมิ

บทที่1

บทที่2

บทที่3

บทที่4

บทที่5_1

บทที่6

รายการอ้างอิง

อ_ประวัติ

การพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าไหมมัดหมี่

การพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าไหมมัดหมี่ กลุ่มทอผ้าฝ้าย-ไหม บ้านหนองผือ 24 หมู่ 1 ตำบลหนองผือ อำเภอเมืองสรวง จังหวัดร้อยเอ็ด

โดย สมาพร คล้ายวิเชียร

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ 1. เพื่อพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ผ้าไหม มัดหมี่ของกลุ่มทอผ้าฝ้าย-ไหม บ้านหนองผือ 24 หมู่ 1 ต.หนองผือ อ.เมืองสรวง จ.ร้อยเอ็ด ให้ได้การรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.) ระดับ 5 ดาว จากสำนักงานคณะกรรมการมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) และ 2. เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ผ้าไหมมัดหมี่

การวิจัยจะเป็นการปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมกับกลุ่ม โดยใช้เครื่องมือในการวิจัย 3 แบบ ได้แก่
1. แบบสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวม ข้อมูลมี 4 ส่วน คือ 1) ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ตอบ 2) บริบทผลิตภัณฑ์ 3) การผลิต 4) ข้อเสนอแนะ/ข้อมูลเพิ่มและที่ตั้งกลุ่ม จากกลุ่มตัวอย่างประชากร ที่เป็นผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในกลุ่มทอ ผ้าฝ้าย -ไหม เช่น ประธานกลุ่ม รองประธานกลุ่ม คณะกรรมการกลุ่ม ตลอดจนสมาชิกในกลุ่ม เพื่อให้ได้สภาพปัจจุบัน บริบทกลุ่ม สถานที่ผลิต กระบวนการผลิต จัดเก็บตัวอย่าง ทดสอบและศึกษา สภาพปัญหา 2. จัดเวทีระดมสมอง เพื่อวิเคราะห์ปัญหาและ วางแผนการดำเนินการปรับปรุงคุณภาพผลิตภัณฑ์ 3. จัดการถ่ายทอดความรู้ เทคโนโลยีและ การอบรม เพื่อพัฒนาและสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์

ผลการวิจัยปรากฏว่า ผลิตภัณฑ์ผ้าไหมมัดหมี่ของกลุ่มทอผ้าฝ้าย-ไหม บ้านหนองผือ ได้ผ่านการตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์ (ม.ผ.ช.) ผ้าไหมมัดหมี่ ระดับ 5 ดาว เลขที่ ม.ผ.ช. 17(1)/2546 ออกใบรับรองวันที่ 24 กุมภาพันธุ์ พ.ศ. 2549 และใบรับรองหมดอายุวันที่ 23 กุมภาพันธุ์ พ.ศ. 2552 จากสำนักงานคณะกรรมการมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) และสามารถสร้าง มูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ผ้าไหมมัดหมี่ให้มีมูลค่าสูงขึ้นด้วย

View More